SNNP
บริษัท ศรีนานาพร มาร์เก็ตติ้ง จำกัด (มหาชน)

สรุปงบการเงิน
ไตรมาสที่ 4 ปี 2567

สรุป OPPDAY

ถอดรหัส SNNP Oppday ปี 2567: โอกาส, ความท้าทาย และแนวโน้มอนาคต

1. ภาพรวมผลกระทบต่อธุรกิจ (Business Impact Overview):

ผลกระทบเชิงบวก: ยอดขายในประเทศเติบโตต่อเนื่อง แม้เศรษฐกิจชะลอตัว, GP margin ดีขึ้น, ยอดขายต่างประเทศฟื้นตัว

ปัจจัยสำคัญ: เศรษฐกิจโลกและไทยฟื้นตัวช้า, การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต, การวางตำแหน่งสินค้า Premium

ตัวเลขสำคัญ: ยอดขาย QonQ โต 9%, YoY โต 6%, Snacks QonQ โต 19%, Beverages QonQ โต 8%, GP margin 29.6% เพิ่มขึ้น 1% จากปี 2566

2. โอกาสทางธุรกิจ (Business Opportunities):

โอกาส: การเติบโตในตลาดต่างประเทศ, การพัฒนาสินค้าใหม่, การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

กลยุทธ์: ขยายตลาดต่างประเทศโดยเน้น CLMV, หาพาร์ทเนอร์, ปรับ Product ให้เข้ากับท้องถิ่น, โฟกัส Core Brand

3. ความเสี่ยงที่กำลังเผชิญ (Risks and Challenges):

ความเสี่ยง: เศรษฐกิจผันผวน, การแข่งขันสูง, ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น, กฎหมายและภาษีใหม่

ผลกระทบ: ยอดขายผันผวน, กำไรลดลง, การแข่งขันรุนแรง

4. วิธีการแก้ไขปัญหาผลกระทบ (Problem-Solving and Mitigation):

วิธีการ: ปรับโครงสร้างการใช้เงินทุน, ลดต้นทุนการผลิต, พัฒนาสินค้าใหม่, บริหารความเสี่ยง

แผนการ: Cost Efficiency Management, ปรับปรุงกระบวนการผลิต, หาแหล่งวัตถุดิบใหม่

5. แนวโน้มและอนาคต (Outlook and Future Trends):

แนวโน้ม: คาดการณ์ปี 2568 โต 15%, ในประเทศโต 10%, ต่างประเทศโต 25%, Snacks โต 16%, Beverages โต 14%

วิสัยทัศน์: เติบโตอย่างยั่งยืน, บริหารจัดการต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ, ขยายตลาดต่างประเทศ

SNNP มุ่งเน้นการเติบโตอย่างยั่งยืน, บริหารจัดการต้นทุน, และขยายตลาดต่างประเทศเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและสร้างผลตอบแทนที่ดีในระยะยาว

6. ช่วงถาม-ตอบ (Q&A Session): เริ่มต้นที่ นาทีที่ 42.13

  1. แนวโน้มผลการดำเนินงานปี 2568 (QonQ, YoY)
  2. ผู้บริหารตอบ: คาดการณ์ปี 2568 โต 15%, ในประเทศโต 10%, ต่างประเทศโต 25%, Snacks โต 16%, Beverages โต 14% (อ้างอิงจากสไลด์ก่อนหน้า)

  3. สัดส่วนรายได้ปี 2568 จะมาจากที่ไหนบ้าง
  4. ผู้บริหารตอบ: กลุ่มในประเทศและต่างประเทศ (ตามสัดส่วนที่กล่าวไปในสไลด์ก่อนหน้า), Snack และเครื่องดื่ม (ตอบคำถามไปแล้ว)

  5. กลยุทธ์หลักในปี 2568
  6. ผู้บริหารตอบ:

    • ในประเทศ: ต่อ ยอด Core Brand ให้แข็งแกร่ง, Optimize Coverage (Efficient มากขึ้น), ใช้ Data วิเคราะห์, วิจัยตลาดเพื่อให้ Product/Promotion Efficient
    • ต่างประเทศ: (คุณฐากร) ขยายความเสี่ยง (กระจาย Product ไปหลายประเทศ), ใช้ Partner Strategy (Import เป็น Partner), Localize Marketing (ปรับรส/Size ให้เหมาะกับลูกค้า)
  7. Demand สินค้า SNNP ปี 2568 ในประเทศเป็นอย่างไร
  8. ผู้บริหารตอบ: (คุณวิโรจน์) ดูจาก GDP ประเทศไทย โตประมาณ 3%

  9. Demand สินค้า SNNP ในตลาดต่างประเทศเป็นอย่างไร
  10. ผู้บริหารตอบ: (คุณฐากร) ประเทศที่ตั้งใจไปทำและเปลี่ยน Partner (Import เป็น Partner) ต้องมีศักยภาพ (เช่น ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, มาเลเซีย), ค่อยๆทำ ค่อยๆสร้าง วางตลาดสินค้า, ใช้เวลา Take Time แต่จะโตขึ้นเรื่อยๆและแข็งแรง, ตลาดหลักน่าจะดีกว่าเมืองไทย, เวียดนาม/ฟิลิปปินส์/มาเลเซีย โตดีกว่าไทย

  11. มีอะไรเป็นปัจจัยบวกให้ SNNP Achieve เป้าที่วางไว้?
  12. ผู้บริหารตอบ:

    • (คุณวิโรจน์) สภาวะเศรษฐกิจดีกว่าคาดการณ์, GDP โตกว่าคาดการณ์, สร้าง Brand, ดำเนินธุรกิจ, Brand Awareness, สินค้าแข็งแกร่ง, ต่อยอดธุรกิจในตลาดใหม่ๆ
    • (คุณฐากร) เน้น Core Brand (Brand เป็นที่รู้จักในต่างประเทศ), ทำการตลาด, เรียนรู้ผู้บริโภค/ช่องทางจัดจำหน่าย, ปรับกลยุทธ์ให้เหมาะสม, ปรับ Size/รส ให้เหมาะกับผู้บริโภค, กิจกรรม/สื่อให้ถูกใจลูกค้า
  13. งบลงทุนปีนี้ วางไว้เท่าไหร่? ใช้อะไรบ้าง?
  14. ผู้บริหารตอบ: หลังสร้างโรงงานเวียดนามแล้ว -> ไม่มี Big Investment Project, มีแต่ Normal Capex (ซ่อมบำรุง), โดยเฉลี่ยทุกโรงงานรวมกัน 80-100 ล้านบาท/ปี

  15. ยอดขายต่างประเทศปีที่ผ่านมา (2567) หายไปเยอะ เกิดอะไรขึ้น? แนวโน้มปี 2568 เป็นอย่างไร?
  16. ผู้บริหารตอบ: หายจากเวียดนาม (ปัญหาอสังหา), ปรับปรุงวิธีจัดจำหน่าย, ปรับปรุงกลยุทธ์การตลาด Q2/2567, ปลาย Q3/ต้น Q4 ทุกอย่างเริ่มกลับมาดีขึ้น, ปีนี้ (2568) จะโตมากกว่าปี 2567 เพราะเวียดนามกลับมาเติบโต + กระจายความเสี่ยงไปประเทศอื่น (มาเลเซีย/อินโดนีเซีย/เกาหลี/ญี่ปุ่น/ไต้หวัน), ตัวเลขเริ่มมาจากหลายประเทศ (ค่อยเป็นค่อยไป)

  17. สิริโปร (บริษัทย่อย) ขาดทุนมาตลอด มีแผนจัดการอย่างไร?
  18. ผู้บริหารตอบ: (คุณวิโรจน์) ปีนี้ขาดทุนน้อยลง (ปีที่แล้วขาดทุนประมาณ 50 ล้าน), ถ้าเป็นตามแผนฟื้นฟู -> น่าจะเท่าทุน/ไม่ขาดทุน, กลยุทธ์: เปลี่ยนผู้บริหาร (CEO, ผอ.ฝ่ายขาย, ผู้จัดการภาค 4-5 คน), เปลี่ยนวิธีทำงาน, ยุบคลังสินค้า, ปรับการตลาด/เส้นทางเดินรถ/เบี้ยเลี้ยง, โฟกัสสินค้าที่ขายดี (สินค้าศรีนานาพรที่มี Margin), สินค้านอกเครือศรีนานาพร -> คัดสินค้าศักยภาพมาทำตลาดให้ดีขึ้น

  19. เงินกู้ระยะสั้นดูสูงขึ้น (เทียบกับปีก่อนหน้า) เกิดจากสาเหตุอะไร?
  20. ผู้บริหารตอบ: ต้องการปรับโครงสร้างการใช้เงินทุน (Re-structure), แหล่งเงินทุนเดิม -> Operation, Leverage กลับเข้ามาจาก Outsource Funding (เหมาะสมในการขยายธุรกิจ), สภาพคล่องยัง Inline อุตสาหกรรม/ต่ำกว่าด้วยซ้ำ

  21. ผลกระทบจาก ภาษีความเค็ม/ค่าแรงขั้นต่ำ/ราคาน้ำมันปาล์มสูงขึ้น?
  22. ผู้บริหารตอบ: ถ้าไม่มี Action Plan -> มีผลกระทบแน่นอน (ต้นทุนสูงขึ้น/GP Margin บางลง), ทุกปี SNNP มี Cost Efficiency Management (เครื่องมือในการรองรับ), ช่วยลด Impact/แทบไม่ Impact เลย, เราคิดเผื่ออนาคตไว้แล้ว

    เสริม (คุณฐากร): ภาษีความเค็ม -> ภาษีความหวานก็เก็บมาแล้ว, เรามีกลยุทธ์ฝ่าอุปสรรค, กำไรไม่ลดลง, ค่าแรง -> เป็นธรรมชาติ (ปรับกันเรื่อยๆ), เรามีแผน Action รองรับอยู่แล้ว

  23. SNNP มีแผนออกสินค้าใหม่ในกลุ่มไหนบ้าง? มากน้อยแค่ไหน?
  24. ผู้บริหารตอบ: (คุณวิโรจน์) ตามกลยุทธ์ -> สินค้า FMCG 1 Brand จะออกรสชาติใหม่ๆทุกปี (Flavor Rotation Strategy), กระตุ้นผู้บริโภค, ทั้ง Beverage และ Snack จะออกสินค้าใหม่, สินค้า Brand ใหม่ -> ไม่อยู่ใน Pipeline ระยะสั้น (ลงทุนมีความเสี่ยงสูง)